ส า ร บั ญ |
โลกใบใหญ่ |
การค้นพบ |
|
รอยเท้าของหัวหน้าเผ่า "โฮมินิด" โทไบแอส และ รอน คลาร์ก |
สัตว์-พรรณพืช |
|
ชะตากรรมของพะยูน
กับการมาถึงของท่าเทียบเรือแห่งบ้านเจ้าไหม |
เกร็ดข่าว |
|
สบายดีไหม โทรเลขไทยในวันนี้ ? |
สะกิดตาสะกิดใจ
|
เกร็ดข่าว |
|
Lanna cafe กาแฟล้านนากับการค้ายุติธรรม |
สิ่งแวดล้อม |
|
๖,๐๐๐ ล้านบาทของป่าแก่งเสือเต้น
มูลค่าป่าที่ (อยาก) มองข้าม ? |
เกร็ดข่าว
|
|
แบ่งปันเนื้อสัตว์กันกิน วิธีบริหารจัดการทรัพยากรของชาวมูเซอแดง |
คนไทยค้นพบ
|
|
ซิวแก้ว, แตบแก้ว |
ที่นี่มีอะไร |
หนังสือบนแผง |
|
|
โลกธรรมชาติ และวิทยาการ |
ส่องจักรวาล |
|
ทางช้างเผือก |
โลกวิทยาการ |
|
ความเร็วแสง |
คลื่นวิทย์-เทคโนฯ |
|
มหัศจรรย์แห่งชีวิต (๓๙) |
คอลัมน์ประจำ - ปกิณกะ
|
เชิญดอกไม้
|
|
ดอกอังกาบ |
เรื่องจากปก
|
เรื่องเด่นในฉบับ
|
สารคดีพิเศษ
|
Special Attractions
|
จากบรรณาธิการ
|
โลกรายเดือน
|
บ้านพิพิธภัณฑ์
|
|
ตลาดบ้านสุด สุพรรณบุรี |
โลกใบเล็ก |
|
ความฝันของคนไม่บ้า |
|
แม่ยกอินเตอร์ |
อ่านเอาเรื่อง |
|
มาตรการขั้นเด็ดขาด
กับคนเมายาบ้าจับตัวประกัน |
ข้างครัว |
|
จากปลาเจ่าถึงซูชิ |
เขียนถึงสารคดี
|
Feature@ Sarakadee.com |
ผลิตภัณฑ์ชุมชน |
|
หมูดิน ของศิลปินอารมณ์ดี |
สยามร่วมสมัย |
|
ใบดำ, ใบแดง, ใบเหลือง |
สัมภาษณ์ |
|
มงคลชัย ชัยวิสุทธิ์
จากบรรณาธิการสู่ผู้กำกับภาพยนตร์ |
บทความพิเศษ |
|
ชำระประวัติศาสตร์ บาดแผลบทเรียน จากอินโดนีเซีย |
บทความพิเศษ |
|
ตามหาการ์ตูน |
สมาชิกอุปถัมภ์ |
บันทึกนักเดินทาง |
|
รังนกเงือกแห่งสุดท้าย
ของน้ำตกป่าละอู |
ศิลปะ |
|
ความเลื่อนไหลของเพศสถานะ ชนชั้น และเผ่าพันธุ์ ในศิลปะภาพถ่ายของโมริมูระ |
เที่ยวทั่วไทยไปกับ "นายรอบรู้"
|
|
เฮโลสาระพา
|
|
|
|
เรื่องจากปก
|
|
|
ดิกชันนารีชีวิตของสอ เสถบุตร
สำหรับคนที่เรียนภาษาอังกฤษในระดับโรงเรียน และระดับมหาวิทยาลัยแล้ว ชื่อของสอ เสถบุตร ดูจะเป็นชื่อที่คุ้นหูคุ้นตากันพอควร จากดิกชันนารีจากอังกฤษ-ไทย ที่แต่งโดยสอ เสถบุตร ที่แต่งโดย
ดิกชันนารีขายดีที่สุดที่มีอายุยืนยาวนานกว่าหกสิบปี และยังได้รับความนิยมสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
แต่คงมีไม่กี่คนที่รู้ว่า สอ เสถบุตร อดีตข้าราชการระดับสูง แต่งดิกชันนารีเล่มนี้ในแดนตาราง ในฐานะนักโทษการเมืองที่ติดคุกเป็นเวลาถึงสิบเอ็ดปี ตั้งแต่คุกบางขวางยันเกาะตะรุเตา และเกาะเต่า
ดร.ชัยอนันต์ สมุทวนิชเคยเขียนถึงผู้ชายคนนี้ว่า
"...ข้าพเจ้าไม่เชื่อว่า การติดคุกจะทำให้คนซึ่งมีความรู้ทางภาษาอังกฤษ กลายเป็นผู้ทำปทานุกรมที่ใหญ่ขึ้นมาได้ทุกคนไป ด้วยเหตุผลแต่เพียงว่า เพราะเขามีเวลามากกว่าคนอื่น ข้าพเจ้าเห็นว่า ในสภาพการณ์ดังกล่าว
มีคนจำนวนไม่น้อยที่มักใช้เวลาว่างให้หมดไปด้วยการสงสารตัวเอง หรือนั่งรอคอยให้ชะตากรรมผ่านพ้นไปเสมอ สอ เสถบุตร เป็นนักวิทยาศาสตร์จึงเชื่อว่า มนุษย์อาจบังคับชะตาชีวิตของเขาเองได้ด้วยการไตร่ตรองหาเหตุผล และวางแผนการใช้ชีวิตไว้เสมอ...
เมื่อใดที่เด็กนักเรียนตัวเล็กๆ คนหนึ่งหยิบดิคชันนารีขึ้นมาเปิด หาความหมายของศัพท์อังกฤษ สักวันหนึ่งเขาคงต้องรู้ถึงชีวิตและงานของปูชนียบุคคลผู้นี้ และซาบซึ้งว่า แต่ละคำในแต่ละหน้าของปทานุกรมที่เขากำลังใช้ประโยชน์อยู่นั้น
เกิดจากความอุตสาหะวิริยะ ความซื่อสัตย์ต่องานและหยาดเหงื่อของ สอ เสถบุตร กับคณะนักโทษการเมืองแห่งเกาะตารูเตา เมื่อนั้นเขาจะมีกำลังใจที่จะเติบโตขึ้น และใช้ขีวิตโดยชอบดังเช่นที่ สอ เสถบุตร ได้กระทำไปแล้ว..." |
สารคดีพิเศษ
|
|
|
นาทีชีวิต
กับการทำงานของหมาใน
เมื่อหมาในพร้อมใจกันออกไล่ล่าเหยื่อในลักษณะ "หมาหมู่" ก็ยากที่เหยื่อจะหลุดรอดไปได้ หลายครั้งสัตว์ผู้ล่าอย่างเสือโคร่ง เสือดาว ยังต้องยอมผละจากซากเหยื่อที่ล่ามาได้เมื่อเผชิญกับฝูงหมาในที่หิวกระหาย
ณรงค์ สุวรรณรงค์ เคยได้ยินกิตติศัพท์ความเป็นนักล่าของหมาในมานาน แต่กว่าจะได้มีโอกาสเห็นลีลาการไล่ล่าอันทรงประสิทธิภาพของพวกมันด้วยตาตนเอง ก็ต้องใช้เวลาวนเวียนเข้าออกป่าภูเขียวอยู่หลายครั้ง
และนี่คือภาพถ่ายการไล่ล่าเหยื่อของหมาในที่ณรงค์บันทึกไว้ได้ เป็น "นาทีชีวิต" ที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นจริงอีกด้านหนึ่งของชีวิตในวิถีธรรมชาติอ่านต่อคลิกที่นี้
|
|
|
"จาบฟอโผว"
ร้านชำกวางตุ้งแห่งกรุงสยาม
ในยุคที่ซูเปอร์สโตร์ยึดหัวหาดอยู่ทุกมุมเมือง ร้านสะดวกซื้อดักรอลูกค้าอยู่ทุกตรอกซอกซอย ลมหายใจของร้านชำหรือร้าน "โชวห่วย" จึงชักจะแผ่วลงทุกที ทว่า "จาบฟอโผว"
หรือร้านชำของชาวจีนกวางตุ้งที่เข้ามายังสยามตั้งแต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ยังคงยืนหยัดอยู่ในย่านบางรักและเยาวราชด้วยเอกลักษณ์เฉพาะตัว
ยุวดี ต้นสกุลรุ่งเรือง นักเขียนผู้สนใจค้นคว้าเรื่องจีนกวางตุ้ง จะมาบอกเล่าถึงชีวิตและการค้าของเจ้าของร้าน "จาบฟอโผว" ผู้คิดค้นผลิตภัณฑ์ซอสปรุงรส เป็นกลุ่มอาชีพที่มีความสำคัญยิ่งต่อการเกิดของอุตสาหกรรมขนาดกลางและเล็กในยุคแรกของสยาม
หรือที่เรียก SME ในปัจจุบัน
อ่านต่อคลิกที่นี้
|
|
|
พจนานุกรมชีวิต สอ เสถบุตร
"ข้าพเจ้าไม่เชื่อว่า การติดคุกจะทำให้คนซึ่งมีความรู้ภาษาอังกฤษกลายเป็นผู้ทำปทานุกรมที่ยิ่งใหญ่ขึ้นมาได้ทุกคนไป" --ชัยอนันต์ สมุทวณิช เขียนถึง สอ เสถบุตร ไว้เช่นนั้น
กว่า ๖๐ ปีที่ชื่อ สอ เสถบุตร ปรากฏอยู่ในฐานะเจ้าของผลงานปทานุกรมอังกฤษ-ไทยซึ่งได้รับความนิยมที่สุดในเมืองไทย แต่จะมีสักกี่คนที่รู้ว่า
ผลงานอันยิ่งใหญ่นี้สร้างขึ้นในห้องขังอันทึบทึมและเกาะอันโดดเดี่ยวห่างไกล เวลากว่า ๑๐ ปีที่ถูกคุมขังในฐานะนักโทษการเมือง ถูกสร้างให้มีค่าขึ้นเมื่อสอนำความรู้ที่สั่งสมมาชั่วชีวิต ผลิตปทานุกรมอังกฤษ-ไทยที่สมบูรณ์ที่สุด
เพื่อเป็นมรดกทางปัญญาแก่คนรุ่นหลัง
อักษร A-Z จากพจนานุกรมชีวิต สอ เสถบุตร นี้ จะบอกเล่าเรื่องราวและความมุ่งมั่นของบุรุษร่างเล็กที่มีต่อการงานอันยิ่งใหญ่แห่งชีวิตของเขาให้เราได้รับรู้อ่านต่อคลิกที่นี้
|
Special Attractions |
|
|
Cover:
So Sethaputra's English-Thai Dictionary has become arguably the most widely used dictionary in Thailand. Still in popular demand until today, his labor of love represents not only a connecting bridge between two languages but also years and
years of solitude and reflection.
Vol. 17 No. 206 April 2002 |
|
|
|
|
|
The Hard-working Dhole
Despite their small frames, Asiatic wild dogs, referred to hereafter as "dholes", remain strong and agile, overcoming prey much bigger than they are. One out of only two types of wolves currently
found in Thailand in the Phukieaw Wildlife Sanctuary, the dhole appears no different from the ordinary domesticated dog. Yet upon closer inspection, their focused, piercing stares express a hungry determination underscoring the
reason that deer, and also vicious predators such as leopards and bears consider these dholes their first-class enemies... particularly when found in a pack.
Continue: click here
|
|
|
The Cantonese "Convenience Store" A Cantonese saying relates that, "from birth, the heavens provide for the rich,
but the poor have to go without as they must fend for themselves." Adages such as "poverty never killed anyone," and strong beliefs in such things as dedication to your work, focus and constant self-improvement, being active in one's
life... these were the keys to the successes of the Cantonese immigrants to Thailand more than 150 years ago. Although the "convenience stores" represent their modest beginnings, their impact remains prevalent.
Continue: click here
|
|
|
So Sethaputra: A Life with a Mission From the first time it was printed some sixty years ago until the present, So Sethaputra's New Model English-Thai
Dictionary is still the most widely used English-Thai dictionary in the country - it is estimated there are approximately 100,000 copies dispersed throughout Thailand. What's behind the man who has compiled our most popular learning
aid? In this edition of Sarakadee, we offer you a window into So's life, from his years studying in England, to his interest in journalism, his civil service career, his short political career and his time served as a political
prisoner...
Continue: click here
|
|
|
|
ไก่ของใคร "หมูอมตะ" |
|
สะกิดตา
ภาพ: ชัยชนะ จารุวรรณากร
เ |
สะกิดใจ
"ฝรั่งในประเทศของผม ถ้าไม่รวยจริงไปอยู่ในชนบทไม่ได้หรอก ที่โน่น คนที่อยู่กลางเมืองจะจนที่สุด อยู่ชานเมืองจะเป็นคนชั้นกลาง ข้าราชการ ผู้จัดการบริษัท
คนชนบทไทยที่กำลังเข้าไปอยู่เมืองตอนนี้ก็ไม่ต่างกัน เขาอยากกลับมาอยู่ในชนบท วิถีชีวิตในชนบทย่อมดีกว่า แต่กลับไปไม่ได้ง่าย ๆแล้ว"มาร์ติน วีลเลอร์
บัณฑิตแห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ
ผู้มาใช้ชีวิตในชนบทที่จังหวัดขอนแก่น
จากหนังสือพิมพ์มติชน ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๕ |
|
|
|