Click here to visit the Website

หน้าปกสารคดี ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๑๘๕ เดือนกรกฎาคม ๒๕๔๓

ส า ร บั ญ
โลกใบใหญ่
โลกใบเล็ก
เมื่อหมี เป็นผู้อุปถัมภ์เอ็นจีโอ
เมื่อหมี เป็นผู้อุปถัมภ์เอ็นจีโอ
รถไฟขบวนไม่สุดท้าย
รถไฟขบวนไม่สุดท้าย
อ่านเอาเรื่อง
ไลเคน ตะไคร่ อันตรายต่อโบราณสถาน (ประเภทหิน) จริงหรือ ?
สิ่งแวดล้อม
โครงการท่อก๊าซไทย-พม่า กับคำเตือนที่เป็นจริง
โครงการท่อก๊าซไทย-พม่า กับคำเตือนที่เป็นจริง
อีสาน บนพื้นฐานนิเวศวิทยา กับคำถามถึง การจัดการ ทรัพยากรชุมชน
เพื่อความเข้าใจในแผ่นดิน
(คลิกดูภาพใหญ่)
กูย-ช้าง สัมพันธภาพที่ยืนยาว
ศิลปะ
ห้องเรียนประวัติศาสตร์ (ถนนราชดำเนิน) บันทึกประวัติศาสตร์ ในงานศิลป์
การแพทย์-สาธารณสุข
ผ่าตัดคลอด ทางที่ไม่ควรเลือก
ที่นี่มีอะไร

โลกบันเทิง
ภาพยนตร์
จอห์นวู กับเส้นทางสู่ฮอลลีวูด (๑) ผลพวงจากวัฒนธรรม การย้ายถิ่นของชาวจีน
คนกับหนังสือ
จะ "อ่าน" วรรณกรรมตามใจใครดี 
โลกธรรมชาติ และวิทยาการ
โลกธรรมชาติ 
ทำไมจมูกต้องเป็นหลอด ?
สื่อภาษาวิทยาศาสตร์
cosmos (คอสโมส)
ส่องจักรวาล
เส้นทางสู่ความรู้ เรื่องเอกภพ (๑๒) การค้นพบ การขยายตัวของเอกภพ (ตอนที่ ๒)
โลกวิทยาการ
โรคกับการบริโภควิตามิน

คอลัมน์ประจำ - ปกิณกะ
โลกรายเดือน
เชิญดอกไม้
พวงแสด
(คลิกดูภาพใหญ่)
จากบรรณาธิการ
บ้านพิพิธภัณฑ์
"นิชา" ของ เลวิช-มงคล สมานคงศักดิ์
เขียนถึงสารคดี
Feature@ Sarakadee.com
บทความพิเศษ
เปต-เปรต
สัมภาษณ์
ขรรค์ชัย บุนปาน "ตำราส้นตีน โยนทิ้งให้หมด"
ขรรค์ชัย บุนปาน (คลิกเพื่อดูภาพใหญ่)
บันทึกนักเดินทาง
ปาดอินทนนท์ 
(คลิกดูภาพใหญ่)
ข้างครัว
กินเพื่อสมอง
บทความพิเศษ
ผู้อยู่กับลม
ศิลปะ
(คลิกดูภาพใหญ่)
เที่ยว EXPO 2000 ที่เยอรมนี 
อุทยานแห่งชาติ 
ข้ามสะพานออบหลวง
เสียงจากอุษาคเนย์
ที่ไหนมีเผด็จการ ที่นั่น (ไม่) มีการ์ตูน
เฮโลสาระพา
ฉบับที่ ๑๘๕ เดือน กรกฎาคม ๒๕๔๓
ไลเคน ตะไคร่ อันตรายต่อโบราณสถาน (ประเภทหิน) จริงหรือ ? 
เ รื่ อ ง จ า ก ป ก
มองปราสาทหินจากมุมสูง (คลิกดูภาพใหญ่)
ภาพปก : สกล เกษมพันธุ์, บันสิทธิ์ บุณยะรัตเวช
มองปราสาทหินจากมุมสูง
    การสร้างปราสาทหินมีความเกี่ยวเนื่อง กับความเชื่อในลัทธิเทวราชาของขอมที่ว่า กษัตริย์เปรียบเสมือนอวตารภาคหนึ่ง ของเทพเจ้าในศาสนาฮินดู ได้แก่ พระศิวะ พระนารายณ์ และพระอินทร์ การสร้างปราสาทก็เพื่อเป็นที่สถิตของเทพเจ้า และที่สถิตของวิญญาณกษัตริย์ที่สิ้นพระชนม์ไปแล้ว โดยเชื่อว่าวิญญาณจะไปรวมเป็นหนึ่งเดียวกับเทพเจ้า และใช้ศิวลึงค์เป็นสัญลักษณ์ของรูปเคารพ หมายถึงความอุดมสมบูรณ์ของแผ่นดิน และเป็นสัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ เทพเจ้าสูงสุดในศาสนาฮินดูลัทธิไศวนิกาย ที่ตั้งของปราสาทหินจะอยู่บนที่สูงกลางเมือง เปรียบดั่งเขาพระสุเมรุ ที่เป็นแกนกลางของจักรวาล ตามความเชื่อของอินเดีย
   
การสถาปนาลัทธิเทวราชา และสร้างปราสาทหินของขอม จึงเป็นการผสานความเชื่อพื้นถิ่นในการนับถือภูเขา  และการบูชาบรรพบุรุษ ให้เข้ากับคติของอินเดีย ขณะเดียวกันปราสาทหิน ก็เป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงอำนาจ และบุญญาธิการของกษัตริย์ผู้สร้างด้วย
    ปราสาทหินในดินแดนประเทศไทยนั้น มีความสัมพันธ์กับการตั้งชุมชน เนื่องจากเมื่อมีการสร้างปราสาทหินเป็นศาสนสถานแล้ว ย่อมเกิดชุมชนรอบปราสาทหินตามมา อันเป็นผลจากการกัลปนาถวายที่ดิน สิ่งของ และผู้คน เพื่อบำรุงและดูแลศาสนสถาน รวมถึงการมีบารายเป็นองค์ประกอบสำคัญของชุมชน ปราสาทหินจึงมีความหมายถึงการเป็นเมือง โดยขนาดของปราสาทเป็นตัวบอกขนาดของชุมชนด้วยมองปราสาทหินจากมุมสูง
    การได้เห็นปราสาทหินแต่ละแห่งจากมุมสูง จะยิ่งช่วยทำให้เราเข้าใจความสัมพันธ์ ระหว่างปราสาทหินกับชุมชนที่อยู่แวดล้อม ได้เป็นอย่างดี ภาพถ่ายทางอากาศชุดที่ตีพิมพ์ใน สารคดี ฉบับนี้ ถือเป็นครั้งแรกในวงการนิตยสารไทย ที่มีการเสนอภาพถ่ายปราสาทหิน ในภาคอีสานของไทย ในมุมมองที่คนทั่วไปไม่เคยเห็นมาก่อน
ส า ร ค ดี พิ เ ศ ษ
(คลิกดูภาพใหญ่) ดักฟังเสียงค้างคาว ที่ป่าเขาอ่างฤๅไน
    นกมีหูหนูมีปีก นกผี ผีดูดเลือด ตัวการทำลายผลไม้ของชาวสวน พาหะนำโรคร้าย -- นี่คือฉายาและข้อหา ที่คนทั่วโลก มอบให้ค้างคาว ทว่าสำหรับนักวิจัยแล้ว พวกเขารู้ดีว่า ค้างคาว เป็นสัตว์ที่มีประโยชน์มากกว่าเป็นโทษ เช่นว่า ค้างคาวกินผลไม้ มีส่วนช่วยผสมเกสร และกระจายเมล็ดพันธุ์พืชในป่า ค้างคาวกินแมลงช่วยกำจัดแมลงศัตรูพืช ฯลฯ
    ดังนั้น การศึกษาชนิดของค้างคาวในเมืองไทย จึงเป็นสิ่งหนึ่งที่จะมองข้ามไปไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การทำงานของนักวิจัยคนหนึ่ง ที่ใช้เครื่องดักฟังเสียงค้างคาว (bat detector) ทำการศึกษาชนิดของค้างคาวในเมืองไทย อุปกรณ์ชนิดนี้ จะทำให้งานวิจัยค้างคาว ก้าวสู่ยุคใหม่ที่สะดวกรวดเร็ว และสมบูรณ์ยิ่งกว่าที่ผ่านมาได้อย่างไร... โปรดติดตาม

(คลิกดูภาพใหญ่) มองปราสาทหินจากมุมสูง
    แม้การศึกษาเกี่ยวกับปราสาทหินในประเทศไทย จะเกิดขึ้นมานานแล้ว แต่การศึกษาส่วนใหญ่เท่าที่ผ่านมา ก็มักมุ่งเน้นไปที่ การศึกษาจารึก รูปแบบ และวิวัฒนาการทางศิลปกรรม ตลอดจนความหมายเชิงปรัชญา ขององค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมต่างๆ มากกว่าที่จะพิจารณาถึง ความสัมพันธ์ระหว่าง เรื่องราวทางประวัติศาสตร์สังคม กับการดำรงอยู่ของผู้คนที่เป็นเจ้าของดินแดนแห่งปราสาทหินเหล่านั้น
    บางที ภาพถ่ายจากมุมสูงที่เผยให้เห็นถึง แผนผังอันใหญ่โตของศาสนาสถาน ตลอดจนสภาพแวดล้อมโดยรอบ อาจเป็นแรงบันดาลใจที่จะทำให้เรา ก้าวเข้าสู่การพิจารณาบริบทแวดล้อมทางสังคม และวัฒนธรรมในการเกิดขึ้นของปราสาทหินเหล่านั้น แทนการให้ความสำคัญเฉพาะตัวปราสาท หรือโบราณสถาน โดยมองข้ามชุมชนแวดล้อม ดังเช่นที่ผ่านมา

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้ 


(คลิกดูภาพใหญ่) เด็กเร่ร่อน เมืองเชียงใหม่ จากขุนเขาสู่บาทวิถี
    นับวัน ภาพเด็กหญิงเด็กชาย จับกลุ่มมั่วสุมกันตามบาทวิถี เนื้อตัวสกปรกมอมแมม อาศัยซุกหัวนอนตามแผงลอยข้างทาง ตึกร้าง ใต้สะพาน ฯลฯ ดูจะปรากฏให้เห็นหนาตาขึ้นเรื่อยๆ ไม่เพียงแต่ในกรุงเทพฯ เมืองศิวิไลซ์ ที่มีเด็กเร่ร่อน กระจัดกระจายอยู่แทบทุกพื้นที่ หากแต่ในเมืองเชียงใหม่ เมืองใหญ่ที่ศิวิไลซ์ไม่แพ้กัน ก็กำลังเผชิญกับปัญหาเหล่านี้ ในอัตราที่รุนแรงและซับซ้อนมากขึ้นทุกที ที่สำคัญ กว่าครึ่งหนึ่งของเด็กเร่รอรเมืองเชียงใหม่ ยังเป็นเด็กชาวเขาจากภาคเหนือ รวมถึงฝั่งพม่า ที่ละทิ้งดงดอยลงมาร่อนเร่กลางเมือง
    ...อะไรที่ผลักดันให้พวกเขา ต้องจากบ้านที่ควรจะอบอุ่น ปลอดภัย มาสู่เส้นทางใหม่ ที่ไร้อนาคต? อะไรที่ผลักดันให้เขาละทิ้งดงดอย และวิถีชนเผ่าดั้งเดิม มาสู่วิถีชีวิตแบบใหม่ ในป่าคอนกรีต ที่วนเวียนอยู่กับเหล้า ยา และการขายบริการ?

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้ 


Special Attractions
Cover : Sarakadee Vol. 16  No. 185  July  2000 Cover: Prasat Banomrung stands impressively atop Phu Banomrung, an extinct volcano. Construction on a high place carries on the customary practice based on a local belief which worships the supernatural powers of sacred mountians.
Click to Bigger Capturing Bat Calls at Ang Rue Nai

    Bats, the animal so many hate and fear, the strange and mysterious ghost bird, vampire, pest and deadly carrier of disease, in the eyes of a group of researchers working deep in the jungles of Ang Rue Nai were incredible pollinators, insect killers and producers of guano, a great fertilizer. Sarakadee visited Professor Sahra Bamrungsri, head of the team, for a first hand look at the world's only flying mammal and the technology we have developed in order to better understand them.

Click Here to Continue Continue: click here
Click to Bigger Sandstone Temples and Their Civilization 

    Research and renovation of Thailand's ancient sandstone temples have produced tomes upon tomes of descriptions detailing their designs and sculptures, influences from the Ramayana and Mahabharata, architectural philosophy, legends, and related inscriptions. The people who lived within their walls and prayed to their gods did not seem of much importance. Here is an attempt to look at more life within these stone remnants.

Click Here to Continue Continue: click here


Click to Bigger Homeless Children in Chiang Mai: From Mountaintops to Streetsides

    A child we spoke to said if homeless children like himself were sad, we would never see their tears because the tears have poured down and dried out long ago since when they were home. They slept on the street, under bridges, and in deserted buildings but the whole of Chiang Mai was their home; and they were free-as long as the cops stayed away. Kesorn Sithiniew tells of several young lives who, according to all official documents and legal records, do not exist.

Click Here to Continue Continue: click here


Click to Bigger EXPO 2000 in Germany

    One hundred and fifty years, 61 expositions and 13 countries since the first spectacular event, the World EXPO has finally come to Germany. This time the focus will not only be on technological wonders and how advanced they are, but also how they are used by humans for the benefit of humankind and in harmony with nature. Opened on June 1, 2000, this five-month-long cultural and technological fair promises all visitors everything from a marathon 21-hour production of Faust to models of hydrogen-powered cars. 


เ ฮ โ ล ส า ร ะ พ า
เพื่อนหมู ผู้หญิงงามด้วยอะไร

"เพื่อนหมูฯ"


 สนับสนุน หรือ คัดค้าน
ไลเคน ตะไคร่ อันตรายต่อโบราณสถาน (ประเภทหิน) จริงหรือ ?

เงินกู้, ADB และแผนปรับโครงสร้าง ภาคเกษตรกรรม
สารบัญ | จากบรรณาธิการ | มองปราสาทหิน จากมุมสูง | เด็กเร่ร่อน เมืองเชียงใหม่ จากขุนเขา สู่บาทวิถี | เมื่อหมี เป็นผู้อุปถัมภ์ เอ็นจีโอ | รถไฟขบวนไม่สุดท้าย | ผ่าตัดคลอด ทางที่ไม่ควรเลือก | จะ "อ่าน" วรรณกรรม ตามใจใครดี | ที่ไหนมีเผด็จการ ที่นั่น (ไม่) มีการ์ตูน | โครงการท่อก๊าซ ไทย-พม่า กับคำเตือนที่เป็นจริง | จอห์นวู กับเส้นทางสู่ฮอลลีวูด (๑) ผลพวงจาก วัฒนธรรมการย้ายถิ่น ของชาวจีน | เปต-เปรต |เฮโลสาระพา

Capturing Bat Calls at Ang Rue Nai | Sandstone Temples and Their Civilization  | Homeless Children in Chiang Mai : from Mountaintops to Streetsides

สำนักพิมพ์ สารคดี | สำนักพิมพ์ เมืองโบราณ | วารสาร เมืองโบราณ | นิตยสาร สารคดี
[ วิริยะบุคส์ | มีอะไรใหม่ | เช่าสไลด์ | ๑๐๘ ซองคำถาม | สมาชิก/สั่งซื้อหนังสือ | WallPaper ]
ขึ้นข้างบน (Back to Top) นิตยสาร สารคดี (Latest issue) E-mail