ส า ร บั ญ |
โลกใบใหญ่ |
โลกใบเล็ก |
|
ยูเอฟโอกับโคลนนิง |
|
รอดตายเพราะเข้าคิว |
เกร็ดข่าว
|
|
เมื่อ "ดาวไถ" ไม่ใช่ "ดาวไถ" ในพจนานุกรมคำคะนอง |
เกร็ดข่าว
|
|
อบรม ตชด. จากแนวรบสู่แนวร่วม เพื่อการอนุรักษ์ |
พิพิธภัณฑ์
|
|
หอไตรวัดตะกาดเง้า
ศูนย์การเรียนรู้ วัฒนธรรมท้องถิ่น ชาวจันทบุรี |
เกร็ดข่าว
|
|
มีอะไรในการ์ตูนญี่ปุ่น งานวิจัย จากนักวิจารณ์การ์ตูนชื่อดัง |
สะกิดตา-สะกิดใจ
|
คนไทยค้นพบ
|
|
ตะพาบม่านลาย |
หนังสือบนแผง
|
|
|
ที่นี่มีอะไร
|
|
|
โลกบันเทิง
|
คนกับหนังสือ
|
|
พระเอกตัวจริง
ใน ไปเก็บแผ่นดินที่สิ้นชาติ |
ภาพยนตร์
|
|
Memento
เรื่องของคนขี้ลืม |
โลกธรรมชาติและวิทยาการ
|
โลกวิทยาการ
|
|
ศาสตร์และศิลป์ ของการโกหก |
คลื่นวิทย์-เทคโนฯ
|
|
มหัศจรรย์แห่งชีวิต (๓๔) |
ส่องจักรวาล
|
|
พาไปเที่ยวดวงจันทร์ (ตอนที่ ๒) |
สื่อภาษาวิทยาศาสตร์
|
|
biology's big bang
evolution's big bang |
คอลัมน์ประจำ - ปกิณกะ
|
เชิญดอกไม้
|
|
ดอกพวงแส |
เรื่องจากปก
|
เรื่องเด่นในฉบับ
|
สารคดีพิเศษ
|
Special Attractions
|
จากบรรณาธิการ
|
โลกรายเดือน
|
บ้านพิพิธภัณฑ์
|
|
|
เขียนถึงสารคดี
|
Feature@ Sarakadee.com |
บันทึกนักเดินทาง
|
|
|
สัมภาษณ์
|
|
ภูมิธรรม เวชยชัย
เลขานุการรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย
จากเอ็นจีโอสู่มหาดไทย |
สยามร่วมสมัย
|
|
เซี่ยวกาง |
ห้องภาพปรินายก
|
|
สักสี-ศักดิ์ศรี |
ศิลปะ
|
|
สุนทรียภาพใหม่ ในงานศิลปกรรมร่วมสมัย |
บทความพิเศษ
|
|
เปลือยตัวตน ชายชนชั้นกลาง
ผ่านหนังสือปลุกใจเสือป่า |
ข้างครัว
|
|
เนื้อมัตสึซากะ |
เฮโลสาระพา
|
เที่ยวทั่วไทยไปกับ "นายรอบรู้"
|
|
|
|
|
|
|
เรื่องจากปก
|
ภาพปก : ฝ่ายภาพ สารคดี |
|
ทุ่นระเบิด นักฆ่าผู้ซื่อสัตย์
แม้ประเทศไทยจะสงบแล้วจากสงครามชายแดน (ยกเว้นพื้นที่ชายแดนบางส่วนด้านตะวันตก)
แต่น้อยคนจะรู้ว่า ยังมีทุ่นระเบิดอยู่อีกนับล้าน ๆ ลูก ฝังตัวอยู่ในบริเวณที่เคยเป็นพื้นที่สู้รบ รอวันที่จะปลิดชีวิตประชาชนผู้ไม่มีส่วนรู้เห็น
แหล่งท่องเที่ยวบางแห่ง ไม่ว่าจะเป็นอุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง
รวมทั้งเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าหลายแห่ง หรือแม้แต่พื้นที่อันสวยงามของหุบเขาในอำเภอเขาค้อ ซึ่งเป็นพื้นที่สู้รบเก่า ใช่จะมั่นใจได้ ๑๐๐
เปอร์เซ็นต์ว่าปลอดภัยจากทุ่นระเบิด
พื้นที่บางแห่งมีทางหลวงแผ่นดินเป็นถนนยางมะตอยอย่างดีเข้าถึง สองข้างทางเป็นป่าหญ้าคา ป่าไผ่ หรือแม้แต่ป่าไม้ รวมทั้งไร่ร้าง
ที่ตรงนั้นมีอุบัติเหตุเนื่องจากทุ่นระเบิดเกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำอีก เป็นพื้นที่ที่คนภายนอกสามารถขับรถเข้าถึงได้ ไม่มีเครื่องหมาย ไม่มีป้ายปักเตือน มีแต่คำบอกเล่าต่อ ๆ
กัน
เหยื่อของทุ่นระเบิดคนต่อไป อาจเป็นตัวเราเอง |
สารคดีพิเศษ
|
|
|
ทุ่นระเบิด นักฆ่าผู้ซื่อสัตย์
มีการบันทึกไว้ว่า ในวันหนึ่ง ๆ จะมีเสียงระเบิดดังขึ้นถึง ๗๐ ครั้ง หรือประมาณว่าในทุก ๆ ๒๒ นาทีจะมีเสียงระเบิดดังขึ้นครั้งหนึ่ง ...เป็นเสียงระเบิดที่ดังขึ้นเพื่อตัดแขนตัดขา
ทำลายดวงตา และก่อให้เกิดการสูญเสียไปทั่วทั้งโลก ไม่ว่าจะเป็นในประเทศเยเมน โคโซโว แองโกลา อัฟกานิสถาน ลาว กัมพูชา หรือแม้แต่ประเทศไทย ๙๐
เปอร์เซ็นต์ของผู้เคราะห์ร้ายเป็นพลเมืองที่ไม่เคยมีส่วนรู้เห็นกับสงครามและความขัดแย้ง อันเป็นที่มาของระเบิดจำนวนหลายล้านลูกที่ฝังตัวเรียงรายอยู่
ทั้งในที่ดินทำกินและในป่าละเมาะใกล้บ้าน วันเวลาของสงครามจบสิ้นไปนานแล้ว แต่ระเบิดเหล่านั้นยังฝังตัวอยู่เรี่ยผิวดินเพื่อรอคอยเหยื่อผู้โชคร้าย
ด้วยเหตุนี้ ณ เส้นพรมแดนไทยเวลานี้ คนกลุ่มหนึ่งจึงมุ่งมั่นอยู่กับปฏิบัติการกู้กับระเบิด ใช้ชีวิตสุ่มเสียงกับอันตรายที่จะเกิดขึ้นเมื่อไรก็ได้...โดยแทบมองไม่เห็นอนาคตว่า
ทุ่นระเบิดที่มีอยู่พื้นที่ประเทศไทยจำนวนกว่านับล้านทุ่น จะเก็บกู้และทำลายได้หมดสิ้นเมื่อใด
อ่านต่อคลิกที่นี้
|
|
|
โลกแห่งสุรา สิ่งเสพย์ติดถูกกฎหมาย
สุราหรือน้ำเมาทั้งหลายถือเป็นยาเสพย์ติดที่เก่าแก่ที่สุดในโลก เพราะย้อนประวัติกลับไปได้ถึง ๖,๐๐๐ ปี
ผู้คนในแถบเมโสโปเตเมียรู้จักดื่มเครื่องมึนเมาเป็นพวกแรก โดยชาวบาบิโลเนียนและชาวอียิปต์ค้นพบการหมักผลองุ่นจนได้น้ำดื่มรสชาติวิเศษ
และหากเอาขนมปังจากข้าวบาร์เลย์ไปหมัก ก็จะได้เครื่องดื่มอมฤตที่เรียกว่าเบียร์
แต่กว่ามนุษย์จะค้นพบวิธีกลั่นสุราก็เป็นเวลาอีกเนิ่นนาน นั่นคือหลังจากการค้นพบวิธีการผลิตไวน์หรือเบียร์ร่วม ๔,๐๐๐ ปี
สุรากลายเป็นสิ่งที่คนทั่วโลกหลงใหล ชาวไทยแม้เมื่อก่อนไม่ค่อยจะดื่มเหล้ากันนัก แต่ปัจจุบันคนไทยดื่มเหล้าเก่งขึ้นเรื่อย ๆ ดื่มได้ทุกโอกาส ดีใจก็ดื่มเหล้า
เสียใจก็ดื่มเหล้า ไม่มีอะไรทำก็ดื่ม เฉลี่ยแล้วในปีหนึ่ง ๆ คนไทยดื่มเหล้าคนละ ๒๒ ขวดกลม หรือ ๑๖.๖ ลิตร เป็นปริมาณที่สูงติดอันดับ ๗ ของโลก
แม้ทุกคนจะรู้ว่าสุราเป็นบ่อเกิดของโรคร้ายและอุบัติเหตุ แต่สถิติการจำหน่ายสุรากลับเพิ่มขึ้นตลอดเวลา นั่นก็คงเป็นเพราะ "สิ่งเสพย์ติด"
เป็นสิ่งที่ผู้คนยากจะถอนตัวออกมา โดยเฉพาะสิ่งเสพย์ติดที่ถูกกฎหมายด้วยแล้ว
|
|
|
|
Special Attractions |
|
|
Cover:
Landmines are a genius, yet sinister contraption of dormant power, capable of a harm and destruction far-reaching and indiscriminate once unleashed. Its ingenuity lies in its effectiveness as a veiled weapon; its evil in our disregard for its safe disposal. Up to 15 million landmines are produced yearly, and yet, are we at war?
Vol. 17 No. 199 September 2001 |
|
|
|
|
|
Landmines - The Indiscriminate Killer
Among the many types of landmines familiar to those who live along the Thai-Cambodian border, the "cream pot" is the most frequently cited by the maimed amputees. This lightweight, plastic container, at times found adrift in the water, is packed with 31 grams of Tetryl explosives. Detonating at the slightest disturbance, it will blow off your entire foot, leaving what remains to rot immediately if not quickly attended to.
Otherwise known in military jargon as an M14 or an M14A1, the American- and Indian- made anti-personnel (as opposed to anti-tank) landmine represents a small portion of the varied, lethal arsenal that remain hidden underground.
Continue: click here
|
|
|
Society's Drink of Choice
The small Russian town of Krasnensk is purported to be home to the largest number of drinkers in the world. Its population of 6,000 consumes 150,000 bottles of vodka per month. This translates into 25 bottles of vodka per month for every single adult, child, and infant living in Krasnensk! With regard to alcohol consumption, Thailand herself ranks a high seventh in the world. The figure is a staggering one, considering that "social
drinking," the number one reason cited among Thais for their first alcoholic drink, only recently became popular in Thai society...
Continue: click here
|
|
|
Contemporary Artistic Expression
Artistic expression, in accordance with the varying ideologies made popular prior to the 90s, had reached a peak of development of some sorts upon entering the last decade of the 20th century. Every creative style had been exhausted to its new/neo/post adaptation - there was Neo-Expressionism, New Figurative Art, Post-Modernism and Post-Avant-Garde. But when innovation was thought to be impossible after that, new artistic idioms were once again
cultivated. Experimenting with materials never before used as art - blood, leftover food, animal remains - the new generation, including artists such as Peter Fischli, David Weiss, Clegg & Guttmann and Jake & Dinos Chapman, also included such things as posters and billboards as the canvasses of their creations.
|
|
|
|
|
|
|
เรื่องกล้วย ๆ
"หมูอมตะ" |
|
|
|
|