Click here to visit the Website

หน้าปกสารคดี ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๑๘๖ เดือนสิงหาคม ๒๕๔๓

ส า ร บั ญ
โลกใบใหญ่
โลกใบเล็ก
ที่ปรึกษาหัวขโมย
ที่ปรึกษาหัวขโมย
จินตนาการในวัยชรา
จินตนาการในวัยชรา
อ่านเอาเรื่อง
"โพล" (การเมือง) : เครื่องมืออันตราย ?
สิ่งแวดล้อม
สัมพันธภาพของคนกับป่า
เพื่อความเข้าใจในแผ่นดิน
เรื่องของกระจาน
สัตว์-พรรณพืช
ซู ฟอสซิลทีเร็กซ์ ที่สมบูรณ์แบบ ที่สุดในโลก
(คลิกดูถาพใหญ่)
วรรณกรรม
"ขุมทรัพย์ที่ปลายฝัน" กับ ประชา หุตานุวัตร และ ปราบดา หยุ่น
พิพิธภัณฑ์
พิพิธภัณฑ์แห่งชีวิต ครูมนตรี ตราโมท
ประชาสัมพันธ์
สืบสานงานสืบ บอกเล่าคุณค่า ผืนป่าตะวันตก
ที่นี่มีอะไร

โลกบันเทิง
ภาพยนตร์
จอห์นวูกับเส้นทาง สู่ฮอลลีวูด (๒)
จอห์นวูกับเส้นทาง สู่ฮอลลีวูด (๒) ความยืดหยุ่น ยุคหลังฟอร์ด
ดนตรี
หลักไมล์ ในเส้นทางดนตรีร็อก (๑๐)
โลกธรรมชาติ และวิทยาการ
โลกวิทยาการ 
น้ำ : ปัญหาและทางออก
ส่องจักรวาล
เส้นทางสู่ความรู้ เรื่องเอกภพ (๑๓)
การค้นพบ การขยายตัว ของเอกภพ (ตอนที่ ๓)

คอลัมน์ประจำ - ปกิณกะ
โลกรายเดือน
เชิญดอกไม้
กุหลาบ
(คลิกดูภาพใหญ่)
จากบรรณาธิการ
บ้านพิพิธภัณฑ์
สุนทร ชุโนทัยสวัสดิ์ 
แห่งพิพิธภัณฑ์สุนทร
(คลิกดูภาพใหญ่)
www.sunthorn.com
เขียนถึงสารคดี
Feature@ Sarakadee.com
สัมภาษณ์
ดร. ไทสัน อาร์. โรเบิร์ต
ฝรั่งบ้าปลาแห่งลุ่มน้ำโขง
ดร. ไทสัน อาร์. โรเบิร์ต (คลิกเพื่อดูภาพใหญ่)
สารคดีต่างประเทศ
สวัสดี...โฮจิมินห์
สวัสดี...โฮจิมินห์ (คลิกเพื่อดูภาพใหญ่)
ศิลปะ
จิตรกรผู้เดินตามธรรมชาติ
จอห์น คอนสเตเบิล
จอห์น คอนสเตเบิล (คลิกเพื่อดูภาพใหญ่)
บันทึกนักเดินทาง
ลูกเก้งหม้อ ผู้หลงทาง
ลูกเก้งหม้อ ผู้หลงทาง (คลิกเพื่อดูภาพใหญ่)
คิดสร้างต่างสรรค์
มารีและปิแอร์ กูรี นักวิทยาศาสตร์ใจบุญ (คลิกดูภาพใหญ่)
มารีและปิแอร์ กูรี
นักวิทยาศาสตร์ใจบุญ
ข้างครัว
ครัวสมัยหิน (คลิกอ่านต่อ)
ครัวสมัยหิน
เสียงจากอุษาคเนย์
รู้จักพุทธสายวิปัสสนา ของไทยและพม่า
สยามร่วมสมัย
หวย กข. 
ซองคำถาม
สัญลักษณ์เพศชาย-หญิง
เหตุใดจึงใช้ชื่อ "คณะราษฎร"
โอเค ซิกาแรต
ทำไมทองคำจึงมีค่า
เสียงหึ่ง ๆ ของฝึ้ง
แม่นางกาหลง
เฮโลสาระพา
ฉบับที่ ๑๘๖ เดือน สิงหาคม ๒๕๔๓
ร่วมแสดงความคิดเห็น เรื่อง "โพล" (การเมือง) : เครื่องมืออันตราย ? คลิกที่นี่
เ รื่ อ ง จ า ก ป ก
รำลึก ๑๐ ปี การจากไป ของ สืบ นาคะเสถียร (คลิกดูภาพใหญ่) รำลึก ๑๐ ปี การจากไป ของ สืบ นาคะเสถียร

    ธันวาคม ๒๕๔๒ อาจารย์ธีรยุทธ บุญมี แห่งคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รายงานผลการสำรวจประชามติความคิดเห็นของคนไทย เพื่อสะท้อนภาพรวมสังคมในด้านต่าง ๆ ก่อนที่จะย่างเข้าสู่ปี ๒๐๐๐ หนึ่งในแบบสำรวจประชามติมีการตั้งคำถามว่า ในรอบ ๕๐ ปีที่ผ่านมา ท่านเสียดายการจากไปของสามัญชนผู้ใดมากที่สุด ๑๐ อันดับ 
    ผลปรากฏว่า อันดับ ๑ คือ หลวงปู่แหวน อันดับ ๒ คือ สืบ นาคะเสถียร
 
หากวันนี้สืบยังมีชีวิตอยู่ เขาจะมีอายุ ๕๑ ปี 
๑ กันยายน ๒๕๓๓ สืบ นาคะเสถียร หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ยิงตัวตายในบ้านพักกลางป่า เพื่อเรียกร้องคนในสังคม ให้หันมาสนใจปัญหาการทำลายผืนป่า และสัตว์ป่า โดยเฉพาะปัญหาที่เกิดขึ้นในป่าห้วยขาแข้ง ซึ่งก่อนหน้านี้แทบจะไม่มีใครรู้จัก
ณ วันนี้ห้วยขาแข้งกลายเป็นป่าที่คนไทยหวงแหนที่สุด ได้รับการยอมรับให้เป็นมรดกโลก เป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าที่ไม่มีการบุกรุก การสร้างเขื่อน การจัดแรลลีในป่าห้วยขาแข้ง ถูกสาธารณชนต่อต้านอย่างรุนแรง การตัดไม้ทำลายป่า การล่าสัตว์อาจมีบ้าง แต่ก็น้อยนิดเมื่อเทียบกับป่าแห่งอื่นในประเทศ 
สืบ นาคะเสถียร รอวันนี้มานาน นานพอจะรู้ว่า มีเพียงเสียงปืนนัดเดียวเท่านั้น ที่จะทำให้ความฝันของเขาเป็นจริงได้
สิบปีผ่านไป มาร่วมรำลึกและค้นหาความหมายของชีวิต ผู้ชายคนหนึ่งชื่อ สืบ นาคะเสถียร
ส า ร ค ดี พิ เ ศ ษ
(คลิกดูภาพใหญ่) รำลึก ๑๐ ปีการจากไปของ สืบ นาคะเสถียร
    ก่อนรุ่งสางของวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๓๓ เสียงปืนนัดหนึ่งดังขึ้นกลางความเงียบงันของป่าห้วยขาแข้ง
   
เสียงปืนนัดนั้นต่างจากเสียงปืนที่มักจะดังขึ้นเสมอ ๆ ในราวป่าลึก ด้วยมิได้ดังขึ้นและเงียบหายไป เหมือนที่ผ่านมา หากแต่ส่งผลก้องสะท้อนต่อมาอีกนับสิบปี...
มันไม่เพียงส่งผลให้เจ้าหน้าที่ระดับสูงของกรมป่าไม้ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องรีบเร่งมาประชุมที่ห้วยขาแข้ง เพื่อหารือถึงมาตรการในการดูแลรักษาป่า ไม่เพียงทำให้คนทั่วประเทศได้รับรู้ว่า กำลังเกิดอะไรขึ้นกับสัตว์ป่าและผืนป่าอนุรักษ์ แต่ยังทำให้ป่าห้วยขาแข้ง-- ผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์ ที่ก่อนหน้านี้แทบไม่มีใครรู้จัก กลายเป็นผืนป่าที่คนทั้งประเทศรักและหวงแหน และส่งผลให้การอนุรักษ์สัตว์ป่า และผืนป่าเป็นประเด็นที่สาธารณชนให้ค่า และความสำคัญ 
    สืบ นาคะเสถียร รอคืนวันเหล่านี้มานับตั้งแต่วันแรก ที่เข้ารับตำแหน่งหัวหน้าเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และอาจจะรู้ดีว่า มันคงไม่มีวันเกิดขึ้นได้เลยหากไม่มีเสียงปืนในราวป่านัดนั้น

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้ 


(คลิกดูภาพใหญ่) เคียงข้างนักปั่นขาเดียว 
ในขบวนจักรยาน "สร้างสันติภาพ หยุด ! กับระเบิด" 
๕ วัน ๒๕๙ กิโลเมตร บนถนนเลียบชายแดน

    ปลายเดือนเมษา ๒๕๔๓ ขบวนจักรยานกว่า ๕๐ ชีวิต เคลื่อนตัวไปตามเส้นทางอรัญประเทศ-สุรินทร์ ระยะทางกว่า ๒๐๐ กิโลเมตร ทั้งหมดไม่ใช่นักปั่นจักรยานมืออาชีพ ไม่ใช่ชมรมคนรักจักรยาน หากแต่เป็นกลุ่มผู้พิการจากกับระเบิด ที่รอนแรมไปบนอานพร้อมขาเทียมของตน เพื่อบอกเล่าเรื่องราวบางอย่างให้สาธารณชนได้รับรู้...
   
ทุกวันนี้แม้สงครามในหลายสมรภูมิจะเลิกรา เหล่านักรบทยอยกลับกรมกองของตนเพื่อใช้ชีวิตสุขสงบ ทว่ากับระเบิดที่วางไว้สังหารศัตรูไม่ได้ถูกเก็บกู้ออกไป และยังคงรอคอยทำหน้าที่ของมันอย่างซื่อสัตย์ ในเมืองไทยเอง ตลอดแนวชายแดนที่ห่างหายจากสงครามมานานหลายปี ก็ยังคงมีกับระเบิดฝังตัวอยู่นับล้านลูก และมีคนไทยตกเป็นเหยื่อกับระเบิดไปแล้วกว่า ๕,๐๐๐ คน 
    ในนามขบวนจักรยาน "สร้างสันติภาพ หยุด ! กับระเบิด" คนชายแดน-เหยื่อกับระเบิดส่วนหนึ่งในจำนวนนั้น ออกปั่นจักรยานอีกครั้ง เพื่อบอกข่าวให้คนไทยได้ตระหนักถึงภัยอันร้ายแรง จากมรดกของความขัดแย้งที่พวกเขามิได้ก่อขึ้น

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้ 


(คลิกดูภาพใหญ่) ช้างป่าและชาวไร่กุยบุรี การเผชิญหน้าที่ยังไม่ยุติ
    กลางปี ๒๕๔๐ ข่าวช้างป่าสองตัวถูกสารพิษตายที่ไร่สับปะรด อำเภอกุยบุรี กลายเป็นข่าวใหญ่ระดับประเทศ เหตุการณ์ครั้งนี้ ไม่เพียงนำความสลดใจ มาสู่คนไทยที่รักช้าง หากยังทำให้เราได้รับรู้ถึงข้อพิพาท ระหว่างคนกับช้าง ที่ยืดเยื้ออยู่ในพื้นที่แห่งนี้ จนนำมาสู่โศกนาฏกรรมในที่สุด
   
นับจากข่าวเผยแพร่ออกไป เจ้าหน้าที่ฝ่ายต่าง ๆ ทั้งหน่วยงานราชการและเอกชน ได้เข้ามาร่วมแก้ปัญหาระหว่างคนกับช้าง กระทั่งพื้นที่ป่ากุยบุรีกลายเป็นเวทีที่เต็มไปด้วยหลากหลายสมมุติฐาน หลากหลายแนวทางและมาตรการการแก้ไข ทว่าถึงวันนี้ความขัดแย้งระหว่างคนกับช้างก็ยังคงดำเนินต่อไป และดูเหมือนว่าคงไม่อาจยุติลงง่าย ๆ เพียงแค่การหาคำตอบว่า คนรุกที่ช้าง หรือช้างรุกที่คน 
    สารคดี ลงพื้นที่กุยบุรี เก็บข้อมูลข้อพิพาทว่าด้วยคนกับช้าง เพื่อนำเรื่องราวและเสียงสะท้อนจากทุกฝ่ายมานำเสนออย่างรอบด้าน ด้วยหวังให้เป็นฐานข้อมูลส่วนหนึ่งสำหรับการแก้ปัญหาอันซับซ้อนนี้

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้ 


Special Attractions
Cover : Sarakadee Vol. 16  No. 185  July  2000 Cover: Always at work, Sueb Nakhasathien's pleasure was in learning, writing, and looking for more ways to protect Thailand's wildlife from destruction. He would be 51 if he were alive today.
Click to Bigger Sueb Nakasathien: Ten Years After
Story Vanchai Tan

    About 10 a.m. on September 1, 1990, a wildlife sanctuary ranger entered Sueb's apartment and found Sueb Nakasathien lying on his bed. A piece of paper next to him said, "I intended to kill myself. No one is involved in this."
   
Sueb chose to become the Head of Huay Kha Khaeng Wildlife Sanctuary in 1989 instead of going to London for his Ph.D. He was in charge of over 2,560 km2 of Thailand's most pristine forests and it was home to him. Soon he found out that a tiny unit of 42 people and a budget of US$ 11 per square kilometer per year was all he had to work with in preserving the forest.
   
He worked feverishly during the day to control poaching, to study wildlife and village life, and educate local communities and the public. At night he would prepare lectures and reports. But the animal carcasses he found, the cut timber he saw, and the rangers' lives he lost seemed to defy these
   
efforts. Proposals to authority for buffer forest areas to protect Huay Kha Khaeng were met with smiles but followed with silence. "You need to work even harder," a minister told him in Bangkok.
   
Thais could not be trusted to protect their own natural heritage, Sueb decided, and looked to the world for help. More research was done and reports written for submission to UNESCO. But also more animals were killed and more rangers shot dead. At around 4 a.m. of September 1, 1990 another shot rang out in Huay Kha Khaeng. The guard suspected nothing; gunfire was such a familiar sound in this forest. If Sueb could not realize his hopes for Thailand in life, he was determined to do it in death.
   
Today Huay Kha Khaeng is a natural World Heritage site, a wildlife sanctuary undisturbed by encroachment, dam construction, and auto rallies. Deforestation and poaching are minimal compared to other forests in Thailand.


Click to Bigger The Hidden After-effects of War
Story and photos : Weerasak Chansongsang

    It was a beautiful sunny morning, when 40 year-old Wacharaporn Kornkamol readied himself for his daily chores. The cornfields stretching out ahead of him belonged to his family for years, some of those years in which he had tired of the efforts and rented parts out. Nonetheless, this was his livelihood. Wacharaporn put on his field boots, and made his way through the neatly manicured cornfields - the tractor's periodic plowing had done wonders for the soil. He suddenly noticed what appeared to be the first cropping of corn, and rushed to examine his earnings. Suddenly, an explosion. Wacharaporn without his left leg, but worse yet, without a justified explanation.
    Landmines continue to claim victims today. The Srakaew Association of Landmine Victims, together with Thailand's Campaign to Ban Landmines (TCBL), and the Bicyclist' for Better Health Association of Thailand have joined forces for a second year to sponsor a five-day cycling route along the Thai-Cambodian border. We, at Sarakadee Magazine extend to them our most sincere blessings. 


Click to Bigger Wild Elephants and the Croppers of Kuiburi
Story by Jakkapan Kangwan
Photos by Bansit Bunyaratavej

    Kuiburi National Park, established in 1990, near the Thailand-Myanmar border, was once dense jungle and the refuge of communists. Before the communists, there were elephants. When in 1969 the Thai government encouraged settlement in these "pink areas" to drive away communists, the effort also drove away elephants from their original trails.
   
Villagers began planting pineapples around 1980. By 1995 elephant raids on the pineapple farms had begun but farmers were willing to tolerate the minimal damage. In 1997 the fruits suddenly became a daily meal andfarmers suffered. Lt. Col. Sirapol, working under a royal initiation project to rehabilitate forests, told us about check dams and seed distribution by helicopter. With enough water from the dams and plants from new seeds, elephants need not come into the village for food. They are returning to the forest and the people seem more content, concludes Lt. Col. Sirapol.
   
Not so say the farmers of Kuiburi. Pineapple planters of several villages around the national park have had sleepless nights since the end of last year. Wild elephants in groups of 5-6 came in to eat the pineapples every night. They have outsmarted all efforts to keep them away, from flares to electric wire fences. Community patrol arrangements have left villagers exhausted and discouraged.
   
Alongkot, a researcher tracking these elephant for years, worries that if young herd members become used to convenient feeding conditions, they may never learn how to fend for themselves in the forest. A few years from now, it will be much more difficult to retrain these elephants to return to the wild.


เ ฮ โ ล ส า ร ะ พ า
เพื่อนหมู พูดจาภาษาหมอ

"เพื่อนหมูฯ"


 สนับสนุน หรือ คัดค้าน
"โพล" (การเมือง) : เครื่องมืออันตราย ?

ไลเคน ตะไคร่ อันตรายต่อโบราณสถาน (ประเภทหิน) จริงหรือ ?
สารบัญ | จากบรรณาธิการ | รำลึก ๑๐ ปีการจากไปของ สืบ นาคะเสถียร | เคียงข้างนักปั่นขาเดียว | ช้างป่าและชาวไร่กุยบุรี การเผชิญหน้าที่ยังไม่ยุติ | ที่ปรึกษาหัวขโมย | จินตนาการในวัยชรา | จอห์นวูกับเส้นทางสู่ฮอลลีวูด (๒) ความยืดหยุ่นยุคหลังฟอร์ด | ครัวสมัยหิน

สำนักพิมพ์ สารคดี | สำนักพิมพ์ เมืองโบราณ | วารสาร เมืองโบราณ | นิตยสาร สารคดี
[ วิริยะบุคส์ | มีอะไรใหม่ | เช่าสไลด์ | ๑๐๘ ซองคำถาม | สมาชิก/สั่งซื้อหนังสือ | WallPaper ]
ขึ้นข้างบน (Back to Top) นิตยสาร สารคดี (Latest issue) E-mail